วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554

แบ่งปันรอยยิ้ม  แบ่งปันน้ำใจ   แบ่งปันวามสุข   
                            หนุนชีวิตรอบโลก
แสดงความจำนงเพื่อการสนับสนุนโครงการฯได้ที่.
ได้ที่ธนาคาร  กรงเทพ  

BangKok  Bank.
 ชื่อบัญชี อรรจฐานิศ ปัญญาพิชัยยุทธ
 Account  Name  Mr.Oatchathanit   Panyaphichaiyut.
หมายเลข
Account.  No. 150 - 076380 - 8   สาขา/Branch  สามยอด

Savings  deposit  Account. 
บัญชี   ออมทรัพย์
facebook Oatchathanit   Panyaphichaiyut.
E-mail :
mr.heroajathanish01@gmail.com
          Oatchathanit@gmail.com 









              
               1. ชื่อโครงการ Thai charity bike ride around the world Project.
                                 โครงการปั่นจักรยานรอบโลกเพื่อการกุศลฯ
โครงการปั่นจักรยานรอบโลกเพื่อการกุศลเพื่อมอบความช่วยเหลือให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากภัยสงคราม - ภัยก่อการร้ายและผู้ด้อยโอกาสทางสังคมในแต่ละจังหวัดที่โครงการปั่นจักรยานเข้าและผ่าน
ในแต่ละประเทศที่โครงการปั่นจักรยานเข้าและผ่าน




              2. วัตถุประสงค์
1. ปั่นจักรยานรอบโลก ด้วยความมุ่งมั่นและเพียรพยายาม
2. ส่งเสริมสถาบัน ชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์
3. ส่งเสริมการท่องเที่ยวของเมืองไทยให้ทั่วโลก ทุกถิ่นฐานทั่วทุกมุมโลกรู้จักประเทศไทยมากขึ้น
ในด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม ในนามสยามเมืองยิ้ม
ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามของไทย ทุกถิ่นฐานทั่วทุกมุมโลกรู้ว่าคนไทยทำสิ่งที่ยากลำบากและยิ่งใหญ่ได้
4. เพื่อจุดประกายให้ เด็ก เยาวชน คนไทย กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจทำและทำในสิ่งที่ดีถูกต้องเสมอ
5. ทำกิจกรรมร่วมกับ บุคคล และ องค์กรต่างๆ ทุกถิ่นฐานทั่วทุกมุมโลกที่ไปถึง
6. ส่งเสริมการใช้จักรยานในกิจกรรมต่างๆกันในชีวิตประจำวันให้มากขึ้น ในแนวทางลดสภาวะโลกร้อน
7. ปั่นจักรยานรอบโลกเพื่อสุขภาพให้แข็งแรง ให้เป็นไปในทางที่ดี ในแนวทางลดสภาวะโลกร้อน
8. เพื่อเรียนรู้และแลกเปลี่ยน ในด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม ของชนชาติต่างๆทั่วโลก
9. นำเรื่องราวที่ได้พบเห็นภาพแห่งความประทับใจ ข้อคิดเห็นและประสบการณ์การเดินทางมาถ่ายทอดสู่ชาวไทย
10. อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


                      3. เป้าหมาย ไปให้ได้ 164 ประเทศ ทั่วโลก
1. เริ่มจากประเทศไทย สยามเมืองยิ้ม สตาร์ทที่กรุงเทพฯ ปั่นไป จ.สมุทรสาคร ระยะทาง 36 กม.
เข้า จ.สมุทรสงครามระยะทาง 37 กม. เข้า จ.เพชรบุรี ระยะทาง 54 กม. พักค้างคืนที่ จ.เพชรบุรี แล้วปั่นไปที่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ระยะทาง 158 กม. พักที่ค้างคืนที่จ. ประจวบฯ เข้า จ.ชุมพร ระยะทาง 183 พักค้างคืนที่ จ.ชุมพร เข้า จ.ระนอง ระยะทาง 117 กม. พักที่ค้างคืนที่ จ.ระนอง เข้า จ.พังงา ระยะทาง 196 กม. พักที่ค้างคืนที่ จ.พังงา เข้า จ.กระบี่ ระยะทาง 176 กม. พักที่ค้างคืนที่ จ.กระบี่ เข้า จ. ตรัง ระยะทาง 123 กม. พักที่ค้างคืนที่ จ.ตรัง เข้า จ. สตูล ระยะทาง 125 กม.
พักที่ค้างคืนที่ จ.สตูล เตรียมตัวเข้าประทศมาเลเซีย 2. เข้าประเทศ มาเลเซีย 3. สิงคโปร์ 4. อินโดนีเซีย
5. บรูไน 6. บอร์เนียว 7. นิวกินี.8. ปาปัวนิวกินี
9. ออสเตรเลีย -แหลมยอร์ด - ดาร์วิน - วินด์แฮม - ออนโลว์ - เพิร์ช - อัลบานี - ดูลการ์ดี - ฟอร์เรส - แอดิเลต - แคนเบอร์รา - เมลเบิร์น - ซิดนีย์
10.เกาะแทสมาเนีย
11. นิวซีแลนด์ ใต้ อินเวอร์คาร์กิล - ดันบีดิน - ไดร์เซิร์บ
     นิวซีแลนด์ เหนือ - เวลลิงตัน - นิวพลีมัช - กีสเบอร์น - เทมส์ - ออคแลนด์
12. ชิลี 13. อาร์เจนตินา 14. อุรุกวัย .15. บราซิล 16. ปาราวัย 17.โบลิเวีย 18. เปรู 19. เอกวาดอร์

20. โคลัมเบีย 21. เวเนซูเอลา 23. กายอานา 24. สุรินัม 25. กิอานา 26. โดมินิกัน 27. ไฮตี 28.จาไมกา 29. ปานามาซิตี้ 30. คอสตาริกา 31. นิการากัว 32. ฮอนดูรัช 33. แอลซัลวาดอร์ 34. กัวเตมาลาซตี้ 35. เบลิช 36. เม็กซิโก
37. สหรัฐอเมริกา- ซานดิเอโก -ลองแองเจลิส -ซานฟรานซิสโก-เมดฟอร์ -ฟอร์แลนด์ - ซีแอ็ดเติล
                            -เกาะแวนคูเวอร์
38. แคนาดา - เอ็ดมันตัน - ฟอร์ดเซ็นต์จอห์น - เฮย์รีเวอร์
39. อลาสกา-ฟรินซ์รูเปอร์ -หมู่เกาะอเล็กซานเดอร์ -คอโดวา- เซอร์คิด -ฟอรดยุคอล -แบร์โรว
40. มาลากาซี ( เกาะมาดากัสการ์) 41. โซมาเลีย 42. เคนยา 43. ซูดาน44. ยูกันดา 45. แทนซาเนีย

 46.โมซัมบิก 47. มาลีวี 48. แซมเบีย 49.ซิมบับเว 50.โรตีเนีย 51. บอตสวานา 52. อาฟริกาใต้ 53. สวาซิแลนด์ 54. เลโซโธ 55. นามิเบีย 56. อังโกลา 57. คาปินดา 58. คองโก หรือ ซาอีร์ 59. กาบอง
60. เซาโตเม 61. แคเมอรูน 62. แอฟริกากลางที่เมือง บังกี 63.ชาด 64 ไนเจอร์ 65.ไนจีเรีย 66.เบนิน 67.โตโก 68 กานา 69.อัปเปอร์วอลตา .70. ไอวอร์โคสต์ 71. ไลบีเรีย 72. เซียราเลโอน 73. กินี 74. กินิบีนเซา 75. แกมเบีย 76.เซเนกัส 77. มาลี 78.มอริเตเนีย 79.ซาฮาร่าสเปน 80.โมร็อกโก 81.แอลจีเนีย 82.ตูนีเซีย 83 ลิเบีย 84. อียีปต์ 85.เอริเทรียหรือ จีบูตี 86. เอธิโอเปีย 87. เยเมนเหนือ 88. เยเมนใต้ 89. โอมาน 90. อาหรับเอมิเรต 91. บาห์เรน 92. ซาอุดิอาระเบีย 93. อาเซอร์ไปจัน 94. จอร์เจีย 95. ตุรกี
96. ซีเรีย 97. อาร์เมเนีย 98. ดามัสกัส 99.จอร์แดน 100. อิสราเอล 101. เลบานอน 102. ไซปรัส
103. กรีช 104. แอลบาเรีย 105. มาซิโดเนีย 106. บัลแกเรีย 107. โรมาเนีย108.เซอร์เบีย หรือ มอนเตนิโกร 109. บอสเนีย หรือ เฮอร์เซโกวีนา 110.โครเอเชีย 111.ฮังการี 112. สโลวีเนีย 113.ออสเตีรย 114.สโลวัก 115.เช็ก 116. ปราก 117.โคเปเฮเกน 118.เยอรมัน 119.เดนมาร์ก 120.เนเธอร์แลนด์ .121. เบลเยียม 122. สวิต 123. อิตาลี 124. มอลตา 125. ซาร์ดิเนีย 126. ฝรังเศส 127. สเปน 128. โปรตุเกส 129. อังกฤษ 130. ไอร์แลนด์ 131.ไอซ์แลนด์132. กรีนแลนด์ 133. นอร์เวย์ 134. สวีเดน 135. ฟินแลนด์ 136. เอสโทเนีย 137. ลัตเวีย 138. ลิธัวเนีย 139.เบลารุส 140. โปแลนด์ 141.ยูเครน 142. รัสเซีย 143. คาซัคสถาน 144. เคอร์กิซสถาน 145. ทัดชีกีสถาน 146. อูซเบดิสถาน 147. เตอร์กเมนิสถาน 148. อิหร่าน 149. อาฟกานิสถาน 150. ปากีสถาน.151. อินเดีย 152.บังกลาเทศ 153. เนปาล 154. ภูฎาน 155. เมียนม่า 156. มองโกเลีย.
157. จีน -ฮูลุน - ฮาร์บิน - ชาวชุน- ชานยาง 158.เกาหลีเหนือ (หากเข้าได้)
159. เกาหลีใต้ 160. ญี่ปุ่น.-ฮอกไกโด - ฮอนชู - โตเกียว T- ชิโกกุ - คิวชู161. ไต้หวัน 162. ฮ่องกง
163. ฟิลิปปินส์ 164. เวียดนาม 165. ลาว
เข้าประเทศไทย ที่จังหวัดเชียงราย เข้า จ.พะเยา ระยะทาง 94 กม. เข้า จ.น่าน ระยะทาง 270 กม. เข้า จ.แพร่ ระยะทาง 118 กม. เข้า จ .อุตรดิตส์ ระยะทาง 74 กม. เข้า จ. พิษณุโลก ระยะทาง 100 กม. เข้า จ.เพชรบูรณ์ ระยะทาง 259 กม. เข้า จ. ลพบุรี ระยะทาง 259 กม. เข้า จ.พระนครศรีอยุธยา ระยะทาง 77 กม. เข้า จ. นครปฐม ระยะทาง 99 กม. เข้ากรุงเทพมหานครฯ ระยะทาง 79 กม.

*ทำพิธีปิดโครงการที่สถานที่ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน หรือบริษัทฯที่สนับสนุน ทุน ให้กับโครงการฯ * 


จะออกเดินทางในวันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พุทธศักราช 2554 เวลา 10:10 นาฬิกา
ณ เซ็นทรัล  พลาซ่า  พระราม 3 * ณ สถานที่ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน หรือบริษัทฯที่สนับสนุน ทุน ให้กับโครงการฯ * 
                
4. ทุนดำเนินโครงการ ทุนที่ต้องใช้ในการดำเนินโครงการฯ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
1. ทุนส่วนที่ 1   เพื่อการกุศลเพื่อมอบความช่วยเหลือให้แก่ผู้ได้รับบาดเจ็บจากภัยสงครามและภัยก่อการร้าย และผู้ด้อยโอกาสทางสังคมในแต่ละจังหวัดที่โครงการปั่นจักรยานเข้าและผ่านในแต่ละ
ประเทศที่โครงการปั่นจักรยานเข้าและผ่าน ( ตามจำนวนที่ได้บริจาค 50% ช่วยเหลือคนไทยทั้งในและต่างประเทศและ 50% ช่วยเหลือผู้คนในต่างประเทศทั่วโลกตามเส้นทางที่เข้าและผ่าน)โดยการมอบความช่วยเหลือผ่าน มูลนิธิ ผู้ทำโครงการจะก่อตั้งมูลนิธิ


สิ่งทีต้องการผู้สนับสนุนอย่างเร่งด่วน  เพื่อสำริดผลก่อนเริ่มโครงการฯ

2. ทุนส่วนที่ 2 ทุนในการเตรียมตัว แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
2.2.1 ส่วนทุนในการเตรียมตัวก่อนเริ่มโครงการ
- ทุนในการทำประกันการเดินทาง ที่ให้บริการได้ทั่วโลก
- ทุนในการทำประกันสุขภาพ ที่ให้บริการได้ทั่วโลก
- ทุนในการทำประกันชีวิต ที่ให้บริการได้ทั่วโลก
- ทุนในการฉีดวัดซีนป้องกันโรคระบาด 27 โรค + 3 ไวรัสใหม่
- โน้ตบุ๊ก แอร์การ์ด ซิมเนต และกล้องดิจิตอล เพื่อออัพเดทข้อมูลใหม่ๆทุกวัน
- ทุนในการจัดซื้อจักรยานที่เหมาะสมในการปั่นรอบโลกและอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการเดินทางรอบโลก
- โทรศัพท์มือถือโทรผ่านดาวเทียมและซิม
                     รวมทุนใช้ในการเตรียมตัว 1,000,000 บาท

2.2.2 ทุนค่าใช้จ่ายการเดินทางรอบโลก * ทุนใช้จ่ายในการเดินทางเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 2,302,000 บาท *
ทุนที่ต้องใช้ในโครงการปั่นจักรยานรอบโลกรวมเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 3,302,000 บาท 

- ทวีปเอเชีย ค่าใช้จ่าย 450,000 บาท
- ทวีปออสเตรเลีย ค่าใช้จ่าย 390,000 บาท
- ทวีปอเมริกาใต้ ค่าใช้จ่าย 375,000 บาท
- ทวีปอเมริกาเหนือ ค่าใช้จ่าย 380,000 บาท
- ทวีปแอฟริกา ค่าใช้จ่าย 387,000 บาท
- ทวีปยุโรป ค่าใช้จ่าย 320,000 บาท




                5. กำหนดการ


6 .ระยะเวลาในการดำเนินโครงการฯ  6 ปี ( 2,190 วัน )

                ผู้ทำโครงการฯใคร่เป็นทูตแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ในการเป็นตัวแทนของคนไทยที่จะแนะนำและเผยแพร่วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงาม สถานที่ท่องเที่ยวทั้งเชิงธรรมชาติ วัฒนธรรมที่ทรงคุณค่าที่น่าสนใจต่างๆ เกี่ยวกับประเทศไทยและคนไทย ให้ต่างประเทศ องค์และสถาบันต่างๆ ทั่วโลกได้มีความเข้าใจได้ลึกซึ่งถึงความประเทศไทยและคนไทยมากขึ้น ผู้ทำโครงการ จะนำซีดีไปกับการเดินทาง เพื่อแสดงเกี่ยวกับภูมิภาคต่างๆ ในประเทศไทย ชีวิตความเป็นอยู่ อาหารและผลไม้ งานหัตถกรรมและหัตถศิลป์ที่มีคุณค่าแห่งการเก็บรักษาและควรค่าแก่การดูแลทางวัฒนธรรมและในจิตใจของชาวไทยมาช้านาน ผู้ทำโครงการฯ จะร่วมศึกษา ร่วมแลกเปลี่ยน ทั้งแนวทางทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติในการรับมือและแนวทางแก้ไขต่อสถานการณ์จากภัยก่อการร้ายทุกประเภทในทุกประเทศที่ผู้ทำโครงการฯปั่นจักรยานเข้าและผ่าน 
              


              7. สิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงการฯ

                     
แบ่งปันรอยยิ้ม  แบ่งปันน้ำใจ   แบ่งปันวามสุข   
                            หนุนชีวิตรอบโลก

แสดงความจำนงเพื่อการสนับสนุนโครงการฯได้ที่.
ได้ที่ธนาคาร  กรงเทพ   ชื่อบัญชี  อรรจฐานิศ ปัญญาพิชัยยุทธ
หมายเลข 150 - 076380 - 8   สาขา  สามยอด 
บัญชี   ออมทรัพย์
facebook (อรรจฐานิศ ปัญญาพิชัยยุทธ)
               Mr.Oatchathanit   Panyaphichaiyut.
E-mail :
mr.heroajathanish01@gmail.com




                                                                  8. บทอ้างอิง
( หมายถึงเอาเป็นตัวอย่างในการปฎิบัติในทางที่ดีที่ควรและค่าคำนวณค่าใช้จ่ายในการเดินทางรอบโลก  ยึดหลักพอเพียง  เน้นนอนกลางดิน  กินกลางทราย )                  

                    ครู อาร์กัส คารูโซ ซาตอร์นิโน จากประเทศบราซิล ตัดสินปั่นจักรยานรอบโลกเพื่อเก็บเกี่ยวเรื่องราวจากประเทศต่างๆ กลับไปถ่ายทอดประสบการณ์ที่ไปเก็บเกี่ยวและสัมผัสมานั้น ให้เยาวชนบราซิล ได้ร่วมเรียนรู้ ได้เป็นส่วน ได้สร้างจินตนาการ ได้เป็นแรงกระตุ้น ให้เยาวชน ได้พัฒนาขีดศักยภาพของตนเองและสังคมในอนาคตวันที่เยาวชนได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ จะได้มีอุดมการณ์ที่หลากหลาย ให้นักเรียนที่ตัวเองสอนอยู่ได้รับรู้ถึงความเป็นอยู่และความแตกต่าง ระหว่างบราซิลกับประเทศอื่นๆ
ที่ :
www.pedalandoeeducando.com.br อาจารย์สว่าง ทองดี ที่:www.bicycleworld.multiply.com
หมู กะ วรรณ ปั่นข้ามฝัน 2,000 วันรอบโลก ที่: www.thaibikeworld.com
MR.HUMAN BRAHMI ( HUMZA )ที่:
www.human-brother.blogspot.com 

ผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการ





















11 ความคิดเห็น:

  1. สู้ สู้ ครับ คนจริงเท่านั้น คือผู้ชนะ

    จักรกริช โชติพลกรัง

    ตอบลบ
  2. สู้ สู้ ขอให้ประสบความสำเร็จ
    ขอไปปั่นจักรยานด้วย

    ....Bank....

    ตอบลบ
  3. ขอให้ทำสำเร็จนะครับ
    จะเอาใจช่วย
    ยังไงก็ขอให้ผ่านไปได้ด้วยดีนะครับ
    ขอให้ความฝันที่จะช่วยผู้คนที่ยากจนประสบความสำเร็จ
    นะครับ

    .....boom.....

    ตอบลบ
  4. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  5. ประทศมาเลเซีย เริ่มจาก
    1. Padang Besar.
    2.
    3. Sg. petani.
    58 Km.
    4. Penang.
    90 Km.
    5. Taiping.
    152 Km.
    6. Ipoh
    104 km.
    7. P.Pangkor.
    150 Km.
    8. Sungai Besar.
    163 Km.
    9. Shan Alam.
    104 Km.
    10.Port Dickson.
    118 Km.
    11.Meraka.
    98 Km.
    12.Batu Pahat.
    126 Km.
    13.Johor Bahru.

    GO 1.Indonisai. 2. Singapore.

    News.

    http://www.sinarharian.com.my/sh/utr/content/story9123310.asp

    http://www.centralplaza.co.th/ActivityDetail-en-rm3_thaicharitybike.aspx

    http://www.facebook.com/media/set/?set=a.222944544386519.74968.219860508028256

    ตอบลบ
  6. Neww.ที่มาของข่าว : ททบ.5

    http://www.tv5.co.th/news/show2.php?id=3115

    http://www.thaipr.net/nc/readnews.aspx?newsid=FCEBBFEEC43F23EEBEEFFEC2E16AF5FA&query=yNm5wuyh0sOk6dLgq+e5t8PRxb7F0qvS

    http://www.ryt9.com/s/prg/1145843

    http://www.newswit.com/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99/

    http://eventwhenwhere.com/event/1303/Thai-charity-bike-ride-around-the-world-Project.html

    http://travel.giggog.com/133451

    ตอบลบ
  7. 23พ ค 54เลี้ยงส่งคุณอรรจฐานิศ ปัญญาพิชัยยุทธ

    http://www.youtube.com/watch?v=zhF1wGkxGFs

    ตอบลบ
  8. 2. เข้าประเทศ มาเลเซีย Malaysia.3. อินโดนีเซีย Indo financia.4. สิงคโปร์ Siagapore.12. ชิลี chile.13. อาร์เจนตินา Argentina.11. อุรุกวัย Uruguay.12. บราซิล Brazil.13. ปาราวัย Paraguoy.
    14.โบลิเวีย Bolivia.15. เปรู Peru.16.เอกวาดอร์ Ecuador.17. โคลัมเบีย Colombia.18. เวเนซูเอลา vinezuela.19. กายอานา Guyana.20. สุรินัม Surinam.21. กิอานา Guiana.22. โดมินิกัน Dominican.
    23. ไฮตี Haty.24. จาไมกา Jamaica.25. ปานามาซิตี้ Panama city.26. คอสตาริกา Costa rica.
    27. นิการากัว Nicaragea.28. ฮอนดูรัช Hondoras.
    29. แอลซัลวาดอร์ El salvabor.30. กัวเตมาลาซตี้ Guatemala city31. เบลิช Belize.32. เม็กซิโก Maxico city.

    ตอบลบ
  9. 85. โอมาน Oman.86. อาหรับเอมิเรต Arab Emirates.87. บาห์เรน Bahrain.88. ซาอุดิอาระเบีย Adi Saudi Arabia.89. อาเซอร์ไปจัน Azerbaijan.
    90. จอร์เจีย Georgia.91. ตุรกี Turkey.92. ซีเรีย Syria.. 93. อาร์เมเนีย Amenia.94. ดามัสกัส Damascus.95.จอร์แดน Jordan.96. อิสราเอล Israel.
    97. เลบานอน Lebanon.98. ไซปรัส Cyprus.
    99. กรีช Greece.100. แอลบาเรีย Maria L.
    101. มาซิโดเนีย Macedonia.102. บัลแกเรีย Bulgaria.
    103. โรมาเนีย Romania.104.เซอร์เบีย หรือ มอนเตนิโกร Serbia or Monte blackamoor State.
    105. บอสเนีย หรือ เฮอร์เซโกวีนา Bosnian or Herbalife Global Access Vena.106.โครเอเชีย Croatia.107.ฮังการี Hungary.108. สโลวีเนีย Slovenia.
    109. ออสเตีรย Austria.110. สโลวัก Slovakia.
    111.เช็ก Czech.112. ปราก Prague.113. โคเปเฮเกน Copanhagen.114.เยอรมัน Germany.115.เดนมาร์ก Denmark.116. เนเธอร์แลนด์ Netherlands.
    117. เบลเยียม Belglum.118. สวิต Switz.119. อิตาลี Italy.121. มอลตา Malta.122. ซาร์ดิเนีย Sarsdienii.123. ฝรังเศส France.124. สเปน Spain.
    125. โปรตุเกส Portugal.126. อังกฤษ English.
    127. ไอร์แลนด์ Ireland.128.ไอซ์แลนด์ Lceland.
    129. กรีนแลนด์ Greenland.130. นอร์เวย์ Norway.
    131. สวีเดน Swedea.132. ฟินแลนด์ Finland.
    133. เอสโทเนีย Estonia.134. ลัตเวีย Latvia.
    135. ลิธัวเนีย Lithuania.136.เบลารุส Belarus.
    137. โปแลนด์ Poland.138.ยูเครน Ukraine.
    139. รัสเซีย Russia.140. คาซัคสถาน Kazakhatan.
    141. เคอร์กิซสถาน Kirghaizia.142. ทัดชีกีสถาน Tadzhikistan.143. อูซเบดิสถาน Uzbekistan.
    144. เตอร์กเมนิสถาน turkmenistan.145. อิหร่าน Iran.146. อาฟกานิสถาน Afghanistan.147. ปากีสถาน Pakistan.148. อินเดีย India.149.บังกลาเทศ Bangladesh.150. เนปาล Nepal.151. ภูฎาน Bhutan.
    152. เมียนม่า Myanmer.153. มองโกเลีย Mongolia.
    154. จีน China.ฮูลุน Hulun - ฮาร์บิน Harbin - ชาวชุน Chang chun - ชานยาง Shanyang
    155.เกาหลีเหนือ north Korea.156. เกาหลีใต้ South Korea.
    157. ญี่ปุ่น Japan.
    ฮอกไกโด Hokkaido - ฮอนชู Honshu - โตเกียว Tokyo - ชิโกกุ Shikoku - คิวชู kyoshu
    158. ไต้หวัน Taiwan.159. ฮ่องกง Hong kong.
    160. ฟิลิปปินส์ Philippines.161. เวียดนาม Vietnam.
    162. ลาว Laos.

    ตอบลบ
  10. 4. ก้าวเล็ก ๆ แต่ยิ่งใหญ่
    เริ่มต้นจากก้าวเล็ก ๆ ที่คุณสามารถจัดการได้ก่อน คุณอาจเริ่มต้นจากพักโฮมสเตย์ที่ไว้ใจได้ ในสถานที่ใกล้ ๆ และคุ้นเคย ดูไม่เสี่ยงจนเกินไป สำหรับการเที่ยวคนเดียวในครั้งแรก ๆ ของชีวิต เมืองไทยมีมากมายตามจังหวัดที่มีประเพณี วิถีชีวิตอันเรียบง่ายทว่างดงาม ใกล้กรุงเทพฯ หรือทะเล ใกล้ ๆ ที่มีคนปูทางไว้เรียบร้อยแล้ว แค่หิ้วกระเป๋าก็เดินปร๋อไปหย่อนใจได้ จากนั้นค่อยก้าวยาว ๆ แบบไม่ต้องกระโดด ขึ้นภู ลงดอย เที่ยวหมู่บ้านชาวเขา หรือล่องใต้ ข้ามเกาะแก่งไปตามหาหัวใจ (นักเดินทาง) ที่อยู่ในตัวคุณ
    5. ทำตัวกลมกลืน
    อีกหนึ่งกลเม็ดเคล็ดลับในการเที่ยวแปลกถิ่นแบบคนเดียว คือ คุณควรแสดงตัวประหนึ่งคนคุ้นเคยในสถานที่นั้น ให้เนียน ๆ เข้าไว้ เป็นการกันไว้ไม่ให้พวกมิจฉาชีพที่จ้องจะขย้ำคนแปลกถิ่น มีช่องมา ทำมิดีมิร้ายคุณได้ ไม่ว่าจะทำอะไรต้องมั่นใจ เชิดหน้าเข้าไว้ สอบถามทางก็ซักให้ละเอียด อย่าทำงกเงิ่นออกมา แรก ๆ คุณอาจเก้อเขินในการไปไหนมาไหนคนเดียว แต่พอเข้าครั้งที่สองที่สาม ก็จะชินขึ้นตามสภาพ
    6. หาไฮไลต์ที่ที่ไป
    แม้จะต้องเที่ยวคนเดียว แต่ก็ควรจะเก็บสถานที่เด็ด ๆ ให้ครบถ้วน ไปถึงถิ่นทั้งที อะไรที่ เขาแนะนำไว้เป็นต้องลองตามสูตร ไม่งั้นไปไม่ถึงที่ อะไรดี ๆ เด่น ๆ ก็ควรจะลองซะ ชอบไม่ชอบ ดีไม่ดี จะได้รู้ไว้แนะนำคนอื่นได้ ไว้เพิ่มเติมบันทึกแห่งการเดินทางของชีวิตคุณเพิ่มอีกสักบรรทัด...ซึ่งแต่ละบรรทัดนั้นได้สัมผัสรับรู้มาด้วยหัวใจและสองขาของคุณเอง เริ่มต้นเดินทาง เก็บเกี่ยวประสบการณ์ตั้งแต่วันนี้ ก่อนที่มันจะสาย....ก่อนหัวใจจะไร้พลัง แพ็กกระเป๋าลุยเดี่ยวไปเติมจิตวิญญาณที่ใกล้จะห่อเหี่ยวเต็มทีกันเถอะ
    ที่มา
    http://e-thai.trip.tripod.com
    ภาพจาก
    www.ultralightoutfitters.com

    ตอบลบ
  11. https://picasaweb.google.com/102031433971339658325/nXYXqB?authkey=Gv1sRgCPTg1PfivYeM4AE#5861033402245697298

    ตอบลบ